Cute Angel Blowing Horn
ยินดีต้อนรับ

จัดทำโดย หมู่เรียน 150 KU-SEA's9

วันพุธที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

จัดทำโดย

นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 วิชาไทยศึกษา หมู่เรียน 150 

1. น.ส.วรรณนภา ชัดแช้ม รหัสนิสิต 5810851932

2. น.ส.กานติ์ชนิต บูรณ์เจริญ 5810855296
3. น.ส.จุฑาทิพย์ ตลับกลาง รหัสนิสิต 5810855318
4. น.ส.จุฑารัตน์ อัศววัชรินทร์ รหัสนิสิต 5810855326
5. น.ส.นภัสสร นิจโรจน์กุล รหัสนิสิต 5810855415
6. นายเนติธร ตาคำ รหัสนิสิต 5810855423
7. น.ส.เยาวลักษณ์ วาณิชย์กุล รหัสนิสิต 5810855466
8. น.ส.โยษิตา สิงห์คำ รหัสนิสิต 5810855474
9. น.ส.ศุภานันทน์ หาญศรี รหัสนิสิต 5810855539
10. น.ส.สริตา อุยสุย รหัสนิสิต 5810855547
11. น.ส.สุปรียา รัตนเชิดชัย รหัสนิสิต 5810855555

บรรณานุกรม

= กัญญ์วราศิริสมบูรณ์เวช. นางงามไทย : จากใต้อำนาจรัฐสู่การรับใช้นายทุน. แหล่งที่มา  : วารสาร ศิลปะวัฒนธรรม  ฉบับที่ 31 ปีที่ 2553 หน้า 37-39. 
       = หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์. บทความคอลัมน์เสียงสตรี. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.whaf.or.th/?p=644. 29 กันยายน 2550.
       = อังคเรศ  บุญทองล้วน. งานวิจัยกระบวนการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ความงามทางสรีระของผู้หญิงในสังคมไทยศึกษาเฉพาะกรณีการประกวดนางสาวไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.culture.go.th/research/bangkok/37_7.html. 2537.
          _______. ประวัตินางงาม อดีต-ปัจจุบัน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://pantip.com/topic/13081865. 2555.
_______. ทัศนะคติของผู้ที่เป็นพี่เลี้ยงนางงามและทัศนะคติของรศ.วิทยาลัย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา  : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=beauty-queen&month=08-2008&date=31&group=4&gblog=55. 2551

สรุปผลการศึกษา


         จากการจัดทำโครงงานพบว่า ประวัติของการประกวดนางงามในประเทศไทย มีมาตั้งแต่ในสมัยรัชการที่ 7 เรียกว่า "นางสาวสยาม" รัฐบาลได้จัดขึ้นในงานเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญ ภายในพระราชอุทยานสราญรมย์ ซึ่งเป็นสโมสรคณะราษฎร ในปี พ.ศ.2477 จัดขึ้นเพื่อความบันเทิงเท่านั้น และยังคงสืบทอดมาจนถึงในปัจจุบัน ซึ่งวัตถุประสงค์จะเปลี่ยนไปตามแต่ละยุคสมัย นอกจากนี้ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีเวทีการประกวดนางงามหลากหลายเวทีอีกด้วย
         ทางด้านการศึกษาทัศนะคตินั้น ทำให้ผู้จัดทำได้ทราบว่าบุคคลภายนอกส่วนหนึ่งนั้นมองนางงามเป็นเพียงแค่ความฉาบฉวย เป็นหนทางลัดแห่งความสำเร็จเท่านั้น และยังมองว่าการศึกษานั้นเป็นหนทางของความสำเร็จที่มั่นคงมากกว่าการประกวดนางงาม แต่ตรงกันข้ามกับทัศนะคติของผู้ที่เกี่ยวข้องกับนางงาม จะมีทัศนะคติที่ดีกับนางงามเนื่องจากได้มีความใกล้ชิด รู้จุดประสงค์ที่แท้จริงของตัวนางงาม และมองการประกวดนางงามนี้เป็นโอกาศที่จะทำให้ชีวิตของผู้เข้าประกวดดีขึ้นกว่าเดิม แต่ในทัศนะคติเกี่ยวกับการประกวดนางงามที่มีความขัดแย้งกันนี้ ก็มีทัศนะคติที่ตรงกันคือ การประกวดนางงามนั้นเป็นหนทางสู่ความสำเร็จ
ด้านทัศนะคติเกี่ยวกับความงามในอุดมคตินั้น ผู้จัดทำได้สืบค้นข้อมูลจากงานวิจัย ปี พ.ศ. 2537 เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ความงามทางสรีระของผู้หญิงในสังคมไทยศึกษาเฉพาะกรณีการประกวดนางสาวไทย โดย อาจารย์อังคเรศ บุญทองล้วน ที่กล่าวว่า ภาพลักษณ์ความงามทางสรีระของผู้หญิงในสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของการประกวดนางสาวไทย และ ผู้หญิงถูกปลูกฝังเรื่องความงามในเชิงอุดมคติที่ว่า ผู้หญิงที่สวยต้องมีสัดส่วนตามมาตรฐานและสามารถเปิดเผยสรีระของตนเองได้ ทำให้สรุปได้ว่าความงามในอุดมคตินั้นเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย และเวทีการประกวดนางงามนั้นก็มีผลต่อความงามในอุดมคติในสมัยนั้นๆ อีกด้วย เพียงแต่ความงามในอุดมคตินั้นเป็นทัศนะคติที่ไม่มั่นคง ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและแตกต่างกันตามแต่ละสังคม